NHSO4_QOF
จังหวัดฉะเชิงเทรา
หน้าหลัก
รายงานผลงานข้อมูล 43 แฟ้มตามเงื่อนไขงบประณาณ QOF สปสช. ปี 2564
กรุณาเลือกปี
2564
ชื่อรายงาน
เป้าหมาย
ผลงาน
อัตรา
1.1. QOF ร้อยละผู้ได้รับการคัดกรองเบาหวาน
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A1 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด ช่วง 1 เม.ษ 63 - 31 มี.ค.64 (โดยตัดผู้ป่วยเบาหวานออกก่อน)
B1 = จำนวนประชาชนสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน
สูตรการคำนวณ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 1.1 = (A1/B1) * 100
189,191
147,658
78.05
1.2. QOF ร้อยละผู้ได้รับวินิจฉัยเป็นเบาหวาน
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A2 =จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74 ปี ใน A1 ที่มีผลระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร โดยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะเบาหวาน หรือได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้ป่วยเบาหวาน
B2 = จำนวนประชาชนสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่ได้รับการคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือดที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
สูตรการคำนวณ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 1.2 = (A2/B2) * 100
17,815
159
0.89
2.1. QOF ร้อยละผู้ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A1 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงใน ช่วง 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564 โดยตัดผู้ที่เคยเป็นโรคความดันโลหิตสูงก่อนหน้าวันที่คัดกรองออก
B1 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ณ วันประมวลผล ที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงก่อนวันที่ 1 เมษายน 2563
สูตรการคำนวณ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.1 = (A1/B1)* 100
168,313
131,346
78.04
2.2. QOF ร้อยละผู้ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงใหม่
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A2 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ใน A1 ที่มีผล SBP_1 >=140 และ/หรือ DBP_1 >= 90 เคยได้รับการวินิจฉัยและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
B2 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่ได้รับการคัดกรองคัดกรองความดันโลหิตสูง ตาม A1 และพบว่าค่าความดันโลหิต
สูตรการคำนวณ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2 = (A2/B2)* 100
3,821
151
3.95
3. QOF ร้อยละหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A=จํานวนหญิงมีครรภ์สิทธิประกันสุชภาพถ้วนหน้าทุกรายในหน่วยบริการที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก โดยอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ที่ได้รับบริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
B=จํานวนหญิงมีครรภ์สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564 ในหน่วยบริการทั้งหมด
สูตรการคำนวณ ตัวชี้วัด
(A/B) x 100
2,488
1,056
42.44
4. QOF ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ 30-60 ปี ภายใน 5 ปี
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A=จํานวนสตรีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า อายุ 30-60 ปี ที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรายใหม่สะสม ตั้งแต่ 1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2564 จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน
B=จํานวนหญิงไทยสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เกิดในช่วง 1 เมษายน 2503 ถึง 30 มีนาคม 2533 จัดกลุ่มตามหน่วย ลงทะเบียน
สูตรการคำนวณ
(A/B) X 100
81,718
52,512
64.26
5.1. QOF ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
B = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
31,738
3,349
10.55
5.2. QOF ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection : RI)
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
B = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ทั้งหมด
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
122,480
14,828
12.11
7.1. QOF ร้อยละการคัดกรองซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง type(1,3) ได้รับ คัดกรองและประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 2 คำถาม (2Q) และประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9Q) ไม่นับผู้ป่วยโรคจิตเวช PPSPECIAL รหัส 1B0280 (ปกติ) หรือ 1B0281 (ผิดปกติ จะต้องมีรหัส 1B0282, 1B0283, 1B0284, 1B0285 ร่วมด้วย
B = จำนวนผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ทั้งหมด
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
43,325
35,591
82.15
7.2. QOF ร้อยละคัดกรองซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง type(1,3) ประกอบด้วย โรคเบาหวาน รหัส ICD10 เท่ากับ E10 - E14, ความดันโลหิตสูง รหัส ICD10 เท่ากับ I10 - I15, มะเร็ง รหัส ICD10 เท่ากับ C00 – C99 , โรคหัวใจและหลอดเลือด รหัส ICD10 เท่ากับ I20 - I52, โรคหลอดเลือดสมองตีบตันแตก รหัส ICD10 เท่ากับ I60 - I69, ปอดอุดกั้นเรื้อรัง รหัส ICD10 เท่ากับ J40 - J47, โรคจิตเวช รหัส ICD10 เท่ากับ F00 – F99 ทุกสิทธิ ได้รับ คัดกรองและประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 2 คำถาม (2Q) และประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9Q) ไม่นับผู้ป่วยโรคจิตเวช ในแฟ้ม SPECIALPP ฟิลด์ PPSPECIAL รหัส 1B130 หรือ 1B131 จะต้องมีรหัส 1B0260, 1B0261, 1B0262, 1B0263 ร่วมด้วย ได้รับบริการช่วง 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
B = ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ข้างต้น ทุกสิทธิ
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
70,149
54,858
78.20
8. QOF ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ DSPM พบ พัฒนาการล่าช้า
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกสิทธิจากฐานข้อมูลของ สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริง และ Type 3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต) ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ครั้งแรก แล้วพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า จากแฟ้ม SPECIALPP ที่ได้รับบริการในช่วง 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
B = จำนวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกสิทธิจากฐานข้อมูลของ สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริง และ Type 3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต) ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ครั้งแรก ที่ได้รับบริการในช่วง 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
16,310
3,703
22.70
9. QOF ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ทุกสิทธิ ที่มารับบริการด้วยการคลอด/แท้งบุตรจากแฟ้ม LABOR โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1. การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง (คลอด/แท้งบุตร) ในช่วงเวลาที่กำหนด เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2564 (ก่อน 42 วัน)
2. อายุน้อยกว่า 20 ปี ณ วันที่การตั้งครรภ์สิ้นสุด (BDATE(LABOR)-BRITH(PERSON) ปัดเศษลง
3. นับเป็นจำนวนผู้มารับบริการ (record ที่ CID+BDATE ซ้ำให้ตัดออก) ร่วมกับสามารถเชื่อมโยงกับแฟ้ม FP ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
3.1 ได้รับคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่วิธีใดวิธีหนึ่ง FPTYPE = 1 - 7
3.2 ได้รับบริการภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด DATE_SERV(FP) - BDATE(LABOR) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 42 วัน รับบริการในช่วง 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
B = จำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ทุกสิทธิ ที่มารับบริการด้วยการคลอด/แท้งบุตรจากแฟ้ม LABOR โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1. การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง (คลอด/แท้งบุตร) ในช่วงเวลาที่กำหนด เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2564 (ก่อน 42 วัน)
2. อายุน้อยกว่า 20 ปี ณ วันที่การตั้งครรภ์สิ้นสุด (BDATE(LABOR)-BRITH(PERSON) ปัดเศษลง
3. นับเป็นจำนวนผู้มารับบริการ (record ที่ CID+BDATE ซ้ำให้ตัดออก
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
594
486
81.82
10. QOF อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่ในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนผู้ป่วยอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกสิทธิ จากฐานข้อมูลของ สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริง และ Type 3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต) ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง รหัส ICD10 เท่ากับ I10 - I15 ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (แฟ้ม Chronic) และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง รหัส ICD10 เท่ากับ I60 - I69 ภายในช่วงเวลา 1 เมษายน 2563 – 31 มีนาคม 2564
B = จำนวนผู้ป่วยอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกสิทธิ จากฐานข้อมูลของ สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริง และ Type 3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต) ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง รหัส ICD10 เท่ากับ I10 - I15 ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (แฟ้ม Chronic) และไม่เคยถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง รหัส ICD10 เท่ากับ I60 - I69 ก่อนวันที่ 1 เมษายน 2563
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
58,484
659
1.13
11.1. งบ PPA เด็กนักเรียน ป1- ป6 ได้รับยาเม็ดธาตุเหล็ก
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนนักเรียนชั้น ป1-ป6 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง ตั้งแต่ 1 ตค.2563 - 31 กค.2564
B = จำนวนนักเรียนชั้น ป1-ป6 เทอม 1 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
48,118
36,920
76.73
11.2. งบ PPA เด็กนักเรียน ป1- ป6 ได้รับยาเม็ดธาตุเหล็ก และได้รับคำปรึกษา SpecialPP
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
C = จำนวนนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก และได้รับคำปรึกษา (ppSpecial)สัปดาห์ละครั้ง ตั้งแต่ 15 ตค.2563 - 31 กค.2564
B = จำนวนนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 เทอม 1 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ
สูตรการคำนวณ
(C/B) x 100
48,118
32,515
67.57
11.3. งบ PPA เด็กนักเรียน ป1 ได้รับการเจาะHct
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนนักเรียนชั้น ป1 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ได้รับการเจาะHaematocrit (Hct) ตั้งแต่ 1 ตค.2563 - 31 กค.2564
B = จำนวนนักเรียนชั้น ป1 เทอม 1 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
7,538
5,678
75.33
12.1. งบ PPA เด็ก 6เดือน-2ปีได้รับยาน้ำธาตุเหล็ก
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนเด็กอายุ 6เfือน-2ปี มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกัน ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก
B = จำนวนเด็กอายุ 6เfือน-2ปี มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกัน
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
13,545
13,175
97.27
12.2. งบ PPA เด็ก 6เดือน-2ปีได้รับแนะนำ1F8
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนเด็กอายุ 6เfือน-2ปี มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกัน ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก
B = จำนวนเด็กอายุ 6เfือน-2ปี มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกัน
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
13,545
11,862
87.57
12.3. งบ PPA เด็ก 6-12เดือนได้รับการเจาะHct
ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
A = จำนวนเด็กอายุ 6-12เดือน มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกัน ได้รับการเจาะHct
B = จำนวนเด็กอายุ 6-12เดือน มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกัน
สูตรการคำนวณ
(A/B) x 100
4,767
3,545
74.37